วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

บทที่ 2. E-BUSINESS INFRASTRUCTURE

LEARNING OUTCOMES
          - Outline the hardware and software technologies used to build an e-business infrastructure within an organization and with its partners
          - Outline the hardware and software requirements necessary to enable employee access to the Internet and hosting of e-commerce services.

TYPICAL PROBLEMS
          - Web site communications too slow.
          - Web site not available.
          - Bugs on site through pages being unavailable or information typed in forms not being executed.
          - Ordered products not delivered on time.
          - E-mails not replied to.
          - Customers’ privacy or trust is broken through security problems such as credit cards being stolen or              addresses sold to other companies.

E-BUSINESS INFRASTRUCTURE



Thearchitectureofhardware,
software,contentanddatausedtodelivere-businessservicestoemployees,customersandpartners.













WHAT IS THE INTERNET ?
          อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล(protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้




HOW BIG IS THE INTERNET?
          -Over 1 billion Internet users worldwide
          -How big the infrastructure they accessing?
          -Measured by number of servers
          -Number of pages indexed by search engines


THE NETCRAFTINDEX OF NUMBER OF SERVERS


INTRANET AND EXTRANET

          Intranet : A private network within a single company using Internet standards to enable employees to share information

          Extranet : Formed by extending an intranet beyond a company to customers,suppliers and collaborators

Intranet applications
          -Used extensively for supporting sell-side e-commerce
          -Also used for internal marketing communications

Extranet applications
          -Used to provide online services which are restricted to business customers

BUSINESS BENEFITS OF EXTRANET
          -Information sharing
          -Cost reduction
          -Order processing and distribution
          -Customer service

QUESTIONS ON EXTRANET?
          -Are the levels of usage sufficient?
          -Is it effective and efficient?
          -Who has ownership of the extranet?
          -What are the levels of service quality?
          -Is the quality of information adequate?


FIREWALLS
          -A specialized software mounted on a separate server at the point where the company is connected to the Internet

          -Use to protect information on the company

WEB EVOLUTION


INTERNET TOOLS
          -E-mail
          -Instant messaging (IM) and Internet Relay Chat (IRC)
          -Usenet newsgroups
          -FTP file transfer
          -Telnet
          -Blogs
          -RSS (Really Simple Syndication)
          -World Wide Web
          -IPTV
          -BitTorrent

DIFFERING USE OF APPLICATIONS AT LEVELS OF MANAGEMENT WITHIN COMPANIES





บทที่ 3. E-business strategy

What is strategy?
• Defines how we will meet our objectives.
• Sets allocation of resources to meet goals.
• Selects preferred strategic options to compete within a
market.
• Provides a long-term plan for the development of the
organization.

What is e-Business strategy?



         E-business strategy :
Definition of the approach by
which applications of internal and
external electronic communications
can support and influence corporate
strategy.














strategy process model




Dynamic e-business strategy model






Source: Adapted from
description in Kalakota
and Robinson (2000)







Elements of strategic situation analysis for the e-business



















Business Environment

          นักปราชญ์ชาวจีนนาม ซุนวู ได้กล่าวไว้ในตำราพิชัยสงครามว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง” คำกล่าวนี้จึงถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการกำหนดแผนกลยุทธ์เพื่อการจัดการธุรกิจการที่จะรู้เขาได้นั้นจะต้องศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกเสียก่อน ส่วนการ “รู้เรา” ก็คือการศึกษาสภาพแวดล้อมภายในเป็นลำดับถัดมานั่นเอง การแข่งขันกันในเชิงธุรกิจผู้ที่จะชนะและสามารถครอบครองตลาดได้นั้นจึงจำ เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทั้งภายนอกและภายในก่อนการลงสนาม



สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ จึงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2ประเภทหลักๆ ด้วยกัน ได้แก่
          -สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจ Internal Environment คือสภาวะแวดล้อมที่ธุรกิจสามารถควบคุมได้ หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่ธุรกิจสามารถกำหนด และ ควบคุมได้เป็นไปตามความต้องการของธุรกิจถือว่าเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโปรแกรมการตลาด โดยการวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของธุรกิจ ในการนำไปเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน
          -สภาพแวดล้อมภายในธุรกิจ External Environment ภาวะแวดล้อมที่ธุรกิจไม่สามารถควบคุมได้ ปัจจัยกลุ่มนี้ หมายถึงปัจจัยยังคับภายนอกธุรกิจที่มีอิทธิพลต่อระบบการตลาด ถือว่าเป็นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้แต่มีอิทธิพลต่อระบบการตลาดคือสร้างโอกาสหรืออุปสรรคแก่ธุรกิจ ซึ่งประกอบด้วยสิ่งแวดล้อมจุลภาค และสิ่งแวดล้อมมหภาค

สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจระดับจุลภาค(Micro External Environment)
          คือ ภาวะแวดล้อมภายนอกที่ธุรกิจไม่สามารถ ควบคุมได้ แต่สามารถเลือก ที่จะติดต่อและเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
  -ตลาด หรือลูกค้า (Market)
  -ผู้ขายปัจจัยการผลิตหรือวัตถุดิบ (Suppliers)
  -คนกลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries)
  -สาธารณชนและกลุ่มผลประโยชน์ (Publics)

สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจระดับมหภาค(Macro External Environment)
          คือ สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินธุรกิจและต่อระบบการตลาดเป็นอย่างมาก แต่ละหน่วยงานและองค์กรธุรกิจไม่สามารถควบคุมการเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ แบ่งออกได้เป็น 4 ประการ ได้แก่
  -ด้านการเมืองและกฎหมาย
  -เศรษฐกิจ
  -สังคม
  -เทคโนโลยี

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการบริหารธุรกิจ



S (Strengths) จุดแข็ง
          เป็นปัจจัยภายในที่ส ามารถควบคุมได้ตามศักยภาพของธุรกิจที่มีอยู่ จุดแข็งนี้จะก่อให้เกิดผลดีต่อธุรกิจ ซึ่งส่งผลมาจากการบริหารงานภายในระหว่างผู้บริหารและบุคลากร หรืออาจมาจากความได้เปรียบในด้านทรัพยากรทางการบริหารต่างๆ เช่น มีสถานภาพทางการเงินที่มั่นคง ที่ตั้งอยู่ใกล้ทั้งแหล่งวัตถุดิบและแหล่งจัดจำ หน่าย บุคลากรมีประสบการณ์และความสามารถสูง ฯลฯ

W (Weaknesses) จุดอ่อน
          เป็นปัจจัยภายในที่เกิดจากปัญหาภายในธุรกิจ อันเนื่องมาจากการบริหารงานที่ผิดพลาด ข้อจำกัดบางประการของศักยภาพทางธุรกิจ ปัญหาเหล่านี้จะส่งผลร้ายถ้าไม่รีบดำเนินการแก้ไข เช่น ขาดสภาพคล่องทางการเงิน สินค้าที่ผลิตออกมามีคุณภาพ ไม่คงที่ ขาดการประสานงานที่ดีภายในองค์กร ฯลฯ

O (Opportunities) โอกาส
         เป็นปัจจัยภายนอกที่ธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือไม่เกิดขึ้นได้ แต่เป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันส่งผลดีให้กับธุรกิจโดยบังเอิญ เช่น กลุ่มลูกค้าเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น นโยบายของรัฐให้การสนับสนุนธุรกิจประเภทนี้ สินค้าของคู่แข่งมีคุณภาพต่ำฯลฯ

T (Threats) อุปสรรค
          เป็นปัจจัยภาย นอกที่ธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือ ไม่เกิดขึ้นได้ และเป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันเลวร้ายที่ส่งผลกระทบให้ธุรกิจเสียหาย เช่น รัฐบาลขึ้นภาษี ปัญหาสภาพเศรษฐกิจตกต่ำ วัตถุดิบมีราคาสูงขึ้นเกิดภัยสงครามหรือภัยธรรมชาติ ฯลฯ

การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ด้วย TOWS Matrix

กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy)
          เป็นการใช้จุดแข็งบนโอกาสที่มี ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงรุก


กลยุทธ์เชิงป้องกัน (ST Strategy)
          เป็นการใช้จุดแข็งป้องกันอุปสรรค ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็น จุดแข็งและข้อจำกัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงป้องกัน


กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO Strategy)
          เป็นการขจัดจุดอ่อนโดยใช้โอกาส ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและโอกาสมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงแก้ไข

กลยุทธ์เชิงรับ (WT Strategy)
          เป็นการขจัดจุดอ่อนป้องกันอุปสรรค ได้มาจากการนำข้อมูลการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดอ่อนและข้อจำกัดมาพิจารณาร่วมกัน เพื่อที่จะนำมากำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ในเชิงรับ

E-environment


Social Factor
          สภาวะแวดล้อมทางสังคมเป็น ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคอย่างมาก เนื่องจากโครงสร้างทางสังคมประกอบไปด้วย ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ ซึ่งในแต่ละสังคมก็จะมีทัศนคติทางสังคม ค่านิยม และวัฒนธรรม ที่ แตกต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากร บทบาทหรือสถาน ภาพของบุคคลและระดับชนชั้นทางสังคม ภูมิศาสตร์หรือกายภาพรอบๆ ธุรกิจ สภาพ ของดิน น้ำ แร่ธาตุ หรืออากาศ เช่น ภาวะโลก ร้อน ภัยธรรมชาติคลื่นยักษ์สึนามิ (Tsunami) โรคระบาด ซึ่งธุรกิจไทยและทั่วโลกเคยเผชิญมาแล้ว คือโรคไข้หวัดนก ในปี พ.ศ.2550 ที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจอุตสาหกรรมสัตว์ปีกและการท่องเที่ยว สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (Influenza A : H1N1) โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2552)คาดว่าเชื้อไวรัสนี้จะยังคงแพร่ระบาดรุนแรงต่อไปตลอดช่วงไตรมาสที่ 3 นี้และมีโอกาสที่จะคงอยู่ยาวนานไปจนถึงไตรมาสสุดท้ายของปี พ.ศ.2552หากมาตรการของรัฐยังไม่สามารถหยุดยั้งการระบาดของโรคให้ชะลอลงได้
          การระบาดของโรคจะสร้างความสูญเสียทางเศรษฐกจิ ในป  2552อย่างน้อย 51,000 ล้านบาท หรือมีผลให้อัตราการขยายตัวของ GDP ลดลงอย่างน้อยร้อยละ 0.6 ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยมีความโน้มเอียงที่จะไปสู่การหดตัวที่อัตราร้อยละ 4.1 จากกรอบประมาณ การเศรษฐกิจที่อยู่ในช่วงร้อยละ 3.5-5.0 ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของผู้บริโภคทั้งสิ้น

Political and Legal Factor
          สภาวะแวดล้อมทางการเมืองและกฎหมาย เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อนโยบายประกอบธุรกิจของประเทศ โดย เฉพาะประเทศไทยซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลแบบผสมผสานพรรคบ่อยๆ นักลงทุนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติจะอ่อนไหวกับปัจจัยทาง การเมือง เพราะเกี่ยวข้องกับกฎหมายและมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการส่งเสริมการลงทุนกฎ ระเบียบที่ใช้สำหรับการค้าระหว่างประเทศ จากการสำรวจความคิดเห็นของนักธุรกิจ 400 ตัวอย่าง ในประเด็นผลกระทบต่อการทำธุรกิจ พบว่านักธุรกิจร้อยละ 17.10 มองว่าความขัดแย้งทางการเมืองเป็นปัจจัยที่ส่งผลลบเป็นอันดับแรกต่อการดำเนินธุรกิจ (เดลินิวส์, 2552) ข้อกังวลในสายตาของนักลงทุน คือ กฎ ระเบียบ นโยบายในการลงทุน มักจะเปลี่ยนแปลงตามรัฐบาลในสมัยนั้นๆ ถ้าการดำเนินธุรกิจขัดต่อกฎหมาย ธุรกิจย่อมจะมีปัญหาในการดำเนินงาน (สมชาย, 2552)

Economic Factor
          สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ(Economic) เศรษฐกิจเป็นเครื่องบ่งชี้ให้เห็นปริมาณการจัดสรรและการใช้ทรัพยากร ปัจจัยทางเศรษฐกิจมีแรงผลักดันที่สำคัญต่อการดำเนินงานขององค์กรธุรกิจ ซึ่งมีปัจจัยที่จะต้องนำมาศึกษาหลายปัจจัย เช่น ผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) นับได้ว่าเป็นปัจจัยที่ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ เนื่องจากเป็นการชี้นำว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นอย่างไรและจะส่งผลกระทบต่ออำนาจในการบริโภคของประชากรโดยรวมในทิศทางใด ซึ่งในปี พ.ศ.2552 นี้ คาดว่า GDP ของ ประเทศ จะขยายตัวประมาณ 1.2% และในกรณีเลวร้ายอัตราการขยายตัวของ GDP อาจลงไปที่ 0.0% คาดว่าการบริโภคของภาคเอกชนจะขยายตัวในระดับต่ำ อยู่ที่ประมาณ 0.3-0.8% จาก 2.2% ในปี พ.ศ. 2551(ข่าวสด, 2552)

          ค่าเงินบาท ธุรกิจที่เสียประโยชน์จากเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นผู้ส่งออกที่ใช้ทรัพยากรหรือวัตถุดิบในประเทศเป็นหลัก แต่ในทางกลับกันการแข็งค่าของค่าเงินบาทจะมีกลุ่มธุรกิจประเภทที่ต้องนำเข้าวัตถุดิบเป็นฝ่ายได้รับประโยชน์ โดยสาเหตุที่ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นอย่างรวดเร็วมีอยู่ด้วยกันหลายปัจจัยเช่น การอ่อนค่าของเงินสกุลต่างประเทศ การไหลเข้าของเงินทุนต่างชาติในประเทศไทย หรือการเพิ่มขึ้นของดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยอัตราการว่างงาน ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ ส่งผลให้เกิดปัญหาการว่างงานขึ้นในทุกประเทศ จากการรายงานของสำนักงาน สถิติแห่งชาติ พบว่าภาวการณ์ทำงานของประชากรไทย ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ในช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ.2551 มีผู้อยู่ในกำลังแรงงานทั้งหมด 38.34 ล้านคน มีงานทำแล้ว37.84 ล้านคน และกำลังรอทำงานอีก 5 หมื่นคน จึงยังคงมีผู้ว่างงานจริงประมาณ 4.5 ล้านคน ที่บริษัทสามารถคัดเลือกเข้าทำงานได้

          ภาวะราคาน้ำมัน ความผันผวนของราคาน้ำมันที่ผ่านมาเป็นที่ชัดเจนว่าไม่มีใครสามารถกำหนดราคาน้ำมันล่วงหน้าได้ นับ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2551 ราคาน้ำมันได้ปรับตัวขึ้นจาก 90 ดอลลาร์ต่อบาร์เรลเมื่อต้นปี ไปแตะจุดสูงสุดที่ 145.29 ดอลลาร์ในวันที่ 13 กรกฎาคม ก่อนจะตกต่ำมาแตะจุดต่ำสุดในรอบปีที่ 31.41 ดอลลาร์ในวันที่ 22 ธันวาคม ในขณะที่ช่วงไตรมาส 2 ของปี พ.ศ.2552 กลับมาอยู่ที่ 60 ดอลลาร์
          ปัจจัยด้านอัตราดอกเบี้ย เมื่อเกิดปัญหาสภาพคล่องทางการเงินอัตราดอกเบี้ยจะขยับตัวสูงขึ้นทำ ให้ต้นทุนการผลิตของกิจการ หรืออุตสาหกรรมต่างๆ สูงขึ้นตามไปด้วย ในทางตรงกันข้ามหากสภาพคล่องทาง การเงินมีมาก อัตราดอกเบี้ยจะลดต่ำลง ผู้คนในสังคมจะมีกำลังซื้อมากขึ้น ส่งผลให้อุตสาหกรรมขยายตัว ธุรกิจต่างๆ รวมถึงการลงทุนในหลักทรัพย์ก็จะได้รับผลดีตามไปด้วย

Technological Factor
          สภาวะแวดล้อมทางเทคโนโลยี ปัจจุบันเป็นยุคความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบต่อทิศทางและความก้าวหน้าขององค์กรธุรกิจเช่น การใช้หุ่นยนต์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต การใช้ชุดคำสั่ง(Software) เพื่อช่วยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดระบบบัญชีให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การนำเทคโนโลยี เครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัยมาใช้แทนแรงงานของคน ส่งผลให้องค์กรต้องลดจำนวนพนักงานลงและต้องเพิ่มประสิทธิภาพพนักงานที่เหลือ มาตรการเหล่านี้จะส่งผลกระทบไปถึงสถานที่ ห้องทำงาน ลักษณะงาน ค่าจ้าง และสวัสดิการต่างๆ



บทที่ 4. E-COMMERCE

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ELECTRONIC BUSINESS)
          ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business)คือกระบวนการดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายที่เรียกว่าองค์การเครือข่ายร่วม (Internetworked Network) ไ ม่ว่าจะเป็นการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) การติดต่อสื่อสารและการทำงานร่วมกัน หรือแม้แต่ระบบธุรกิจภายในองค์กร

e-Service
     ❖e-Commerce
     ❖e-Business
     ❖e-System

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ELECTRONIC COMMERCE)
          พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) คือ การทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใ นทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไ ม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โ ทรทัศน์ วิทยุหรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โ ดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร โ ดยการลดบทบาทองค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่นทำเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงานขาย พนักงานแนะนำสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้า เป็นต้น จึงลดข้อจำกัดของระยะทาง และเวลาลงได้

การประยุกต์ใช้ (E-commerce Application)
     ❖ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
     ❖ การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auctions)
     ❖ การบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
     ❖ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)
     ❖ การพาณิชย์ผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
         (M-Commerce : Mobile Commerce)

โครงสร้างพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure)
     ❖ องค์ประกอบหลักสำคัญด้านเทคโนโลยีพื้นฐาน ที่จะนำมาใช้เพื่อการพัฒนาระบบ
     พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่
     ❖ระบบเครือข่าย (Network)
     ❖ช่องทางการติดต่อสื่อสาร (Chanel Of Communication)
     ❖การจัดรูปแบบและการเผยแพร่เนื้อหา (Format & Content Publishing)
     ❖การรักษาความปลอดภัย (Security)

การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)
     1. การพัฒนาระบบงาน E-Commerce Application Development
     2. การวางแผนกลยุทธ์ E-Commerce Strategy
     3. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce Law
     4. การจดทะเบียนโดเมนเนม Domain Name Registration
     5. การโปรโมทเว็บไซต์ Website Promotion



The Dimensions of E-Commerce

ประเภทของ E-Commerce
กลุ่มธุรกิจที่ค้ากำไร (Profits Organization)
     1. Business-to-Business (B2B)
     2. Business-to-Customer (B2C)
     3. Business-to-Business-to-Customer (B2B2C)
     4. Customer-to-Customer (C2C)
     5. Customer-to-Business (C2B)
     6. Mobile Commerce

ประเภทของ E-Commerce
กลุ่มธุรกิจที่ไม่ค้ากำไร (Non-Profit Organization)
     1. Intrabusiness (Organization) E-Commerce
     2. Business-to-Employee (B2E)
     3. Government-to-Citizen (G2C)
     4. Collaborative Commerce (C-Commerce)
     5. Exchange-to-Exchange (E2E)
     6. E-Learning

E-Commerce Business Model
แบบจำลองทางธุรกิจหมายถึง
     วิธีการดำเนินการทางธุรกิจที่ช่วยสร้างรายได้ อันจะทำให้บริษัทอยู่ต่อไปได้ นอกจากนี้ยังรวมถึงกิจกรรมที่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Add) ให้กับสินค้าและบริการวิธีการที่องค์กรคิดค้นขึ้นมาเพื่อประยุกต์ใช้ทรัพยากรขององค์กรอย่างเต็มที่ อันจะก่อให้เกิดผลกำไรสูงสุดและเพิ่มมูลค่าของสินค้าและบริการ

ข้อดีและข้อเสียของ E-Commerce
ข้อดี
     1.สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
     2.สามารถดำเนินการค้าขายได้อย่างอิสระทั่วโลก
     3.ใช้ต้นทุนในการลงทุนต่ำ
     4.ไม่ต้องเสียค่าเดินทางในระหว่างการดำเนินการ
     5.ง่ายต่อการประชาสัมพันธ์ และยังสามารถประชาสัมพันธ์ในครั้งเดียวแต่ไปได้ทั่วโลก
     6.สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ใช้บริการอินเทอร์เนตได้ง่าย
     7.ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาสำหรับผู้ซื้อและผู้ขาย
     8.ไม่จำเป็นต้องเปิดเป็นร้านขายสินค้าจริงๆ
ข้อเสีย
     1.ต้องมีระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบที่มีประสิทธิภาพ
     2.ไม่สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ไม่ได้ใช้บริการอินเทอร์เนตได้
     3.ขาดความเชื่อมั่นในเรื่องการชำระเงินผ่านทางบัตรเครดิต
     4.ขาดกฎหมายรองรับในเรื่องการดำเนินการธุรกิจขายสินค้าแบบออนไลน์
     5.การดำเนินการทางด้านภาษียังไม่ชัดเจน



บทที่ 5. e-Marketing

E-Marketing 
          ย่อมาจากคาว่าElectronic Marketingหรือเรียกว่า“การตลาดอิเล็กทรอนิกส์”หมายถึงการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดโดยใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่ทันสมัยและสะดวกต่อการใช้งาน เข้ามาเป็นสื่อกลาง ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือพีดีเอ ที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันด้วอินเทอร์เน็ต มาผสมผสานกับวิธีการทางการตลาด การดาเนินกิจกรรมทางการตลาด อย่างลงตัวกับลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรอย่างแท้จริง

คุณลักษณะเฉพาะของe-Marketing
          -เป็นการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายในลักษณะเฉพาะเจาะจง(NicheMarket)
          -เป็นลักษณะเป็นการสื่อสารแบบ2ทาง(2WayCommunication)
          -เป็นรูปแบบการตลาดแบบตัวต่อตัว(OnetoOneMarketingหรือPersonalizeMarketing)ที่ลูกค้าหรือ                 กลุ่มเป้าหมายสามารถกาหนดรูปแบบสินค้าและบริการได้ตามความต้องการของตนเอง
          -มีการกระจายไปยังกลุ่มผู้บริโภค(DispersionofConsumer)
          -เป็นกิจกรรมที่นักการตลาดสามารถสื่อสารไปยังทั่วทุกมุมโลกตลอด24ชั่วโมง(24BusinessHours)
          -สามารถติดต่อสื่อสารโต้ตอบปฏิสัมพันธ์ได้อย่างรวดเร็ว(QuickResponse)
          -มีต้นทุนต่าแต่ได้ประสิทธิผลสามารถวัดผลได้ทันที(LowCostandEfficiency)
          -มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมการตลาดแบบดั้งเดิม(RelatetoTraditionalMarketing)
          -มีการตัดสินใจในการซื้อจากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ(PurchasebyInformation)

ความแตกต่างกันระหว่าง e-Marketing, e-Business และ e-Commerce
          -E-Marketing คือรูปแบบการทาการตลาดในรูปแบบหนึ่งโดยใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์เครื่องมือดิจิตอลเข้ามาช่วยในการทาการตลาดแต่ในความหมายสาหรับE-BusinessหรือElectronicBusinessนั้นจะมีความหมายที่ใกล้เคียงกับคาว่าE-CommerceหรือElectronicCommerceมากกว่าเพียงแต่ว่าความหมายของE-Businessจะมีขอบเขตที่กว้างกว่าโดยหมายถึงการทากิจกรรมในทุกๆขั้นตอนของกระบวนการธุรกิจผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกว่า“ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์”ทั้งการทาการค้าการซื้อการขายการติดต่อประสานงานงานธุรการต่างๆที่เกิดขึ้นภายในสานักงานและการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นกระบวนการในการดาเนินการทางธุรกิจที่อาศัยระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์มาใช้ในการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจโดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม(AddedValue)ตลอดกิจกรรมทางธุรกิจ(ValueChain)และลดขั้นตอนของการที่ต้องอาศัยแรงงานคน(ManualProcess)มาใช้แรงงานจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์(ComputerizedProcess)แทนรวมถึงช่วยให้การดาเนินงานภายในภายนอกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและยังเป็นการสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้ามากขึ้นอีกด้วยตัวอย่างเช่นการควบคุมสต๊อคและการชาระเงินให้เป็นระบบอัตโนมัติดาเนินการได้รวดเร็วและทาได้ง่ายลักษณะการนาE-Businessมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้แก่
          -การเชื่อมต่อระหว่างกันภายในองค์กร (Intranet)
          -การเชื่อมต่อระหว่างกันกับภายนอกองค์กร (Extranet)
          -การเชื่อมต่อระหว่างกันกับลูกค้าทั่วโลก (Internet)


Distinguishing between e-marketing, e-business and e-commerce

ประโยชน์ของ e-Marketing
          นักการตลาดชื่อSmithandChaffeyได้กล่าวถึงประโยชน์จากการนาเอาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาช่วยสนับสนุนการทาการตลาดและก่อให้เกิดผลสาเร็จตามเป้าหมายโดยมองว่าE-Marketingเป็นกระบวนการในการจัดการทางการตลาดโดยมีการเน้นย้าถึงการให้ความสาคัญแก่ลูกค้าเป็นหลักในขณะที่แสดงถึงการเชื่อมโยงการทางานทางธุรกิจในอันที่จะช่วยสร้างความสาเร็จในผลกาไรให้กับธุรกิจซึ่งสามารถแบ่งกระบวนการในการจัดการทางการตลาดได้ดังนี้
          -การจาแนกแยกแยะ(Identifying)สามารถทาการจาแนกแยกแยะได้ว่าลูกค้าเป็นใครมีความต้องการอย่างไรอยู่ที่ไหนและมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าอย่างไรโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
          -การทานายความคาดหวังของลูกค้า(Anticipating)เนื่องจากความสามารถของอินเทอร์เน็ตนั้นช่วยเพิ่มช่องทางให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูลและสามารถซื้อสินค้าได้สะดวกยิ่งขึ้นโดยการเข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าถือเป็นหัวใจสาคัญในการทาE-Marketingตัวอย่างเช่นเว็บไซต์สายการบินต้นทุนต่าeasyJet(http://www.easyjet.com)มีส่วนสนับสนุนทาให้มีรายได้จากการผ่านออนไลน์กว่า90%
          -สนองความพอใจของลูกค้า(Satisfying)ถือเป็นความสาเร็จในการทาE-Marketingในการสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้าผ่านช่องทางออนไลน์การเพิ่มขึ้นของลูกค้านั้นอาจจะมาจากการใช้งานง่ายการสนับสนุนการให้บริการแก่ลูกค้าเป็นต้น

ประโยชน์ของการนา e-Marketing มาใช้ 5Ss’
          นอกจากนี้SmithandChaffeyยังได้กล่าวถึง5Ss’ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการนาเอากลยุทธ์การตลาดออนไลน์มาใช้ได้แก่
          -การขาย(Sell)ช่วยทาให้ยอดขายเพิ่มขึ้นจากการทาการตลาดออนไลน์ซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ทาให้ลูกค้ารู้จักและเกิดความทรงจา(AcquisitionandRetentiontools)ในสินค้าบริการเราเพิ่มมากขึ้นซึ่งนาไปสู่การขายที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย
          -การบริการ(Serve)การสร้างประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นให้แก่ลูกค้าจากการใช้บริการผ่านออนไลน์ไม่ว่าจะเป็นการให้สิทธิพิเศษต่างๆเป็นต้น)
          -การพูดคุย(Speak)การสร้างความใกล้ชิดกับลูกค้ามากยิ่งขึ้นโดยสามารถสร้างแบบสนทนาการโต้ตอบกันได้ระหว่างกันได้(Dialogue)ทาให้ลูกค้าสามารถเข้ามาสอบถามตลอดจนสามารถสารวจความคิดเห็นความต้องการของลูกค้าลูกค้ามีความสนใจในเรื่องใดเป็นพิเศษ
          -ประหยัด(Save)การสร้างความประหยัดเพิ่มขึ้นจากงบประมาณการพิมพ์กระดาษโดยสามารถใช้วิธีการส่งจดหมายข่าวE-Newsletterไปยังลูกค้าแทนการส่งจดหมายแบบดั้งเดิม
          -การประกาศ(Sizzle)การประกาศสัญลักษณ์ตราสินค้าผ่านออนไลน์ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสินค้าของเราให้เป็นที่รู้จักมีความคุ้นเคยมากยิ่งขึ้น

     การทาE-Marketingก่อให้เกิดประโยชน์แก่ธุรกิจในหลายๆประการทั้งในแง่ของกลุ่มผู้ประกอบการเจ้าของสินค้าและในแง่ของกลุ่มลูกค้าทาให้ธุรกิจดาเนินไปได้อย่างรวดเร็วและด้วยต้นทุนที่ต่า

หลักการของ e-Marketing
          -การตลาดยุคEเน้นการใช้MassCustomizationมากกว่าMassMarketingเพราะลูกค้าทุกคนมีสิทธิ์เลือกเว็บไซต์ต่างๆทั่วโลกเพื่อหาสินค้าที่ตนเองต้องการเพราะฉะนั้นเราต้องเน้นระบบที่สนองตอบความต้องการของลูกค้าแต่ละคนเป็นหลักทั้งนี้เราจักต้องสร้างระบบโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นมาตอบสนองความต้องการดังกล่าวโดยให้แต่ละคนสามารถเลือกทางเลือกที่สนองความต้องการได้ด้วยตนเอง
          -การแบ่งส่วนตลาดต้องเป็นแบบMicroSegmentationหรือOne-to-OneSegmentationหมายถึงหนึ่งส่วนตลาดคือลูกค้าหนึ่งคนเพราะในตลาดบนเว็บถือว่าลูกค้าเป็นใหญ่เนื่องจากมีสิทธิ์ที่เลือกซื้อสินค้าใครก็ได้ยกเว้นแต่เราเป็นเพียงรายเดียวที่มีอยู่ในตลาดฉะนั้นการพิจารณาข้อมูลความต้องการหรือพฤติกรรมของลูกค้าทุกคนโดยอาศัยระบบฐานข้อมูลที่ตรวจจับพฤติกรรมของลูกค้าแต่ละรายได้ถือเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จที่สาคัญมากหรือในแง่ของการจัดการแล้วเราเรียกว่าCRMหรือCustomerRelationshipManagementนั่นเองเพราะนี่จะทาให้เราทราบว่าใครคือลูกค้าประจา
          -การวางตาแหน่งสินค้า(Positioning)ต้องเป็นไปตามความต้องการแต่ละบุคคลหรือMigrationingการวางตาแหน่งสินค้าเพื่อให้ลูกค้ารับรู้นั้นต้องวางตามความต้องการของแต่ละบุคคลและหากความต้องการนั้นเปลี่ยนไประบบก็ต้องเคลื่อนตาแหน่งของการวางนั้นไปสนองตอบต่อความต้องการใหม่ด้วย
          -ให้เราเป็นหนึ่งในเว็บที่ลูกค้าจาได้การสร้างความจดจาเพื่อให้จาเว็บไซต์เราการจดชื่อโดเมนที่ทาให้จดจาง่ายหรือมีความหมายที่สอดคล้องกับเนื้อหาของเว็บไซต์จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นมาก
          -ต้องรู้ความต้องการลูกค้าล่วงหน้าจาเป็นจักต้องติดตามพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มเป้าหมายโดยตลอด
          -ต้องรู้ความต้องการลูกค้าล่วงหน้าจาเป็นจักต้องติดตามพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มเป้าหมายโดยตลอด
          -ต้องปรับที่ตัวสินค้าและราคาเป็นหลักสินค้าถือเป็นหัวใจที่สาคัญที่สุดจาเป็นอย่างยิ่งที่จักต้องเทียบกับคุณค่าของสินค้าและคู่แข่งเสมอว่าใครสนองตอบต่อความต้องการได้ดีกว่ากัน
          -ต้องให้ลูกค้าตกแต่งสินค้าตามความต้องการได้โดยอัตโนมัติ(Customization&Personalization)วิธีที่ให้ลูกค้าได้รับคุณค่าหรือสนองความต้องการได้ดีที่สุดก็คือการให้ลูกค้าได้เลือกหรือตกแต่งสินค้าเองรวมทั้งการคานวณราคาด้วยฉะนั้นการให้Optionsให้ลูกค้าได้เลือกมากที่สุดจึงเป็นสิ่งที่สาคัญมาก

เครื่องมือที่สาคัญของการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
          -Digitaladvertising
 ิ         -RaidMarketing
          -e-mailMarketing
          -VideoMarketing
          -Blogging
          -Mobilemarketing
          -PayPerClick
          -SearchEngineOptimization
          -SocialMediaMarketing
        
ส่วนผสมทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
-ผลิตภัณฑ์(Product)
          -ราคา(Price)
          -สถานที่(Place)
          -การส่งเสริมการขาย(Promotion)
          -เครือข่ายสังคม(SocialNetwork)
          -การขายบนเว็บไซต์
          -การบริการลูกค้า
          -ระบบป้องกันความปลอดภัย
          -ระบบฐานข้อมูลลูกค้าเพื่อนามาใช้ในการบริการ(PersonalizationService)

e-Marketing Planning
          the SOSTAC™ framework developed by Paul Smith (1999) ซึ่งสามารถสรุปขั้นตอนที่เกี่ยวข้องได้ 6ขั้นตอนด้วยกัน คือ
          -Situation –where are we now?
          -Objectives –where do we want to be?
          -Strategy –how do we get there?
          -Tactics –how exactly do we get there?
          -Action –what is our plan?
          -Control –did we get there?




7 ขั้นตอนสาหรับการทา e-Marketing

ขั้น1 กาหนดวัตถุประสงค์(SetObjective)
การจัดทาเว็บไซต์ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของธุรกิจ

ขั้น 1 กาหนดวัตถุประสงค์ (Set Objective)
           - เพื่อสร้างยอดขาย(SalesandAcquisition)
การนาe-Marketingมาใช้เพื่อให้เกิดผลกระทบในการเพิ่มยอดขายโดยตรงกับธุรกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นขณะตัดสินใจซื้อโดยกระตุ้นไปยังกลุ่มลูกค้าที่คาดหวังให้เกิดการทดลองซื้อและเกิดการซื้อซ้าสาหรับลูกค้าเดิมการสร้างยอดขายอาจทาได้โดยวิธีการขายสินค้าผ่านออนไลน์วิธีการประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดการซื้อในอนาคตผลที่ได้เช่นเสริมสร้างความเป็นผู้นาทางการตลาด,ส่งเสริมยอดขายและสนับสนุนการขาย,เพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด,สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับลูกค้า,สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าและเพิ่มการเยี่ยมชมให้กับเว็บไซต์ของเรา
           - เพื่อสร้างภาพลักษณ์(Image)
ลักษณะภาพลักษณ์ที่ดีมีดังนี้
     I.สร้างขึ้นมาให้ดูง่ายจดจาง่าย
     II.ดูมีความน่าเชื่อถือก่อให้เกิดความประทับใจ
     III.เป็นรูปธรรมและมองเห็นได้อย่างชัดเจน
     IV.อยู่ระหว่างความคาดหวังและความเป็นจริงควรเป็นไปในเชิงบวก
     V.เป็นสินทรัพย์ของธุรกิจ
              ดังนั้นการนาe-Marketingมาใช้เพื่อช่วยเสริมสร้างพัฒนาภาพลักษณ์ตราสินค้าได้เป็นอย่างดีโดยการส่งข้อความเชิงบวกในสินค้าและบริการถึงกลุ่มเป้าหมายหรือสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าในด้านความรับผิดชอบที่ควรมีต่อลูกค้า
             - ให้บริการและเพื่อสนับสนุนการขาย(ServiceandSupport)
เป็นช่องทางสาหรับบริการหลังการขายแก่ลูกค้าเน้นในด้านการให้บริการภายในเว็บไซต์โดยสร้างการติดต่อสื่อสารขึ้นระหว่างกันเช่นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายหรือการติดต่อระหว่างผู้ซื้อกับผู้ซื้อด้วยกันเอง
             - การสร้างตราสินค้าให้เป็นที่รู้จัก(BrandAwareness)
โดยการทาการส่งข้อความด้วยเครื่องมือทางการตลาดออนไลน์ใดๆถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดการรับรู้(Awareness)ทาให้ลูกค้าจดจาได้(Recognition)และระลึกถึงเป็นชื่อแรก(Recall)เมื่อต้องการจะซื้อสินค้าซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ทาให้ลูกค้ารับรู้ถึงคุณลักษณะคุณสมบัติและประโยชน์ของสินค้า
              - การรักษาฐานลูกค้าปัจจุบัน(CustomerRetention)
เป็นความพยายามในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าซึ่งยังผลให้ธุรกิจสามารถสร้างผลกาไรได้อย่างต่อเนื่องด้วยการรักษาความพอใจให้คงอยู่ซึ่งกระบวนการนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า(CustomerRelationManagement:CRM)
               - การสร้างความจงรักภักดีในตราสินค้า(BrandRoyalty)
คือการที่ลูกค้ารักและเกิดความศรัทธาในตราสินค้าของธุรกิจและยากที่จะทาให้ลูกค้าเกิดการเปลี่ยนใจที่จะไปซื้อสินค้าอื่นแทนซึ่งการสร้างความจงรักภักดีจะส่งผลต่อการลดต้นทุนทางการตลาดในระยะยาวสร้างความไว้วางใจให้แก่ลูกค้า

ขั้น 2 การกาหนดกลุ่มเป้าหมายด้วยวิธี 5W+1H
              - Who(ใคร)ลูกค้าคือใครมีอายุประมาณเท่าไรเพศอะไรระดับการศึกษาเป็นอย่างไรระดับรายได้หรือฐานเงินเดือนอยู่ที่เท่าใดประกอบอาชีพอะไรรสนิยมส่วนตัวเป็นอย่างไรฯลฯข้อมูลเหล่านี้ช่วยให้สามารถระบุกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อวางแผนการตลาดหรือสร้างสินค้าหรือบริการที่ตอบสนองต่อพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง
              - What(อะไร)อะไรคือสิ่งที่ลูกค้าต้องการเพื่อทราบอุปสงค์(demand)และความปรารถนาภายในใจ(willing)ของลูกค้าว่าสินค้าหรือบริการรูปแบบไหนที่ลูกค้าต้องการและอะไรที่จะสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าหรือบริการจากคู่แข่งขันได้
              - Where(ที่ไหน)ลูกค้าอยู่ที่ไหนเป็นคาถามเชิงภูมิศาสตร์เพื่อทราบถึงสภาพแวดล้อมวัฒนธรรมภาษาและเชื้อชาติของกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นเช่นไรเพื่อให้ทราบว่าจะหาลูกค้าได้จากไหนบ้างและที่ไหนคือที่ๆลูกค้ามักจะไปอยู่และสามารถสื่อสารกับลูกค้าได้ด้วยวิธีอะไร
              - When(เมื่อไร)เมื่อไรที่ลูกค้าต้องการเราเราควรทราบถึงความต้องการว่าในช่วงเวลาไหนที่ลูกค้าต้องการซื้อหรือใช้บริการและต้องการบ่อยเพียงใดซึ่งจะช่วยให้เรากาหนดและวางแผนการพยากรณ์ต่างๆให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้อง
              - Why(ทาไม)ทาไมลูกค้าต้องมาที่เราเป็นคาถามเชิงเหตุผลว่าเหตุใดลูกค้าถึงได้เข้ามาซื้อสินค้าจากเราอาจเป็นเงื่อนไขในเรื่องของราคาที่ถูกกว่าคู่แข่งหรือสินค้ามีคุณภาพมากกว่าความสะดวกสบายบริการหลังการขายที่ดีกว่า
              - How(อย่างไร)เราสามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างไรเป็นคาถามเชิงวิธีการหรือหนทางในการรักษาฐานลูกค้าเก่าหรือเพิ่มยอดขายจากลูกค้ารายใหม่ซึ่งควรจะมีการวางแผนและกาหนดวิธีการที่จะเข้าถึงลูกค้าได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากที่สุด

ขั้น 3 วางแผนงบประมาณ มีเงินเท่าไร จะใช้เท่าไร
          เป็นการประเมินถึงจานวนเงินเพื่อใช้ในการทางานว่ามีเท่าใดซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีที่เจ้าของธุรกิจต้องทราบว่าจะดาเนินธุรกิจให้ได้ตามแผนต้องใช้เงินลงทุนแต่ละส่วนเป็นเงินเท่าใดและได้มาจากแหล่งใดหลักในการทางบฯมีด้วยกันหลายวิธีเช่น
          #ทางบประมาณตามสัดส่วนจากการขาย
          #ทางบประมาณตามสภาพตลาด
          #ทางบประมาณตามวัตถุประสงค์
          #ทางบประมาณตามเงินทุน

ขั้น 4กาหนดแนวความคิดและรูปแบบ หาจุดขาย ลูกเล่น
           เป็นการสร้างแนวความคิดที่แปลกใหม่น่าสนใจให้กับเว็บไซต์โดยเป็นการสร้างจุดเด่นหรือจุดที่แตกต่างกับเว็บอื่นๆทาให้เกิดเอกลักษณ์ของเว็บไซต์เราซึ่งเป็นปัจจัยที่ทาให้ผู้เยี่ยมชมจดจาเว็บไซต์ได้อาจจะเป็นรูปแบบการบริการที่ไม่เหมือนใครการใช้ลักษณะการออกแบบเว็บที่โดดเด่นหรือเนื้อหาในเว็บทาให้ผู้อ่านสนใจแต่ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องยืนอยู่บนเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่เราตั้งใจไว้เป็นสาคัญ

ขั้น 5 การวางแผนกลยุทธ์ และสื่อ ช่วงเวลา
             เป็นการเลือกสรรวิธีหรือกลยุทธ์ที่ใช้สาหรับการทาการตลาดออนไลน์ว่าควรเลือกใช้สื่อรูปแบบใดดีโดยดูที่วัตถุประสงค์เป็นหลักเช่นการโฆษณาผ่านหน้าเว็บในรูปแบบต่างๆ,การตลาดผ่านระบบค้นหา,การตลาดผ่านอีเมล์,การตลาดผ่านเว็บบล็อก
             นอกจากนั้นอาจจะมีการผสมผสานด้วยสื่อในรูปแบบofflineหรือสื่อที่ไม่ใช่สื่อออนไลน์เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทาการตลาดร่วมกันเช่นการโฆษณาบนวิทยุโทรทัศน์บนสื่อสิ่งพิมพ์เป็นต้นโดยนาสื่อหรือกลยุทธ์รูปแบบอื่นไปร่วมในแผนตามความเหมาะสมควรมีการวางแผน“แผนการใช้สื่อ”เพื่อวางเป้าหมายในการใช้สื่อแต่ละช่วงเวลาได้เหมาะสมและเป็นไปในทิศทางเดียวกันตลอดทั้งปี

ขั้น 6 การดาเนินการตามแผนที่ได้วางไว้
 เทคนิคการเตรียมตัวก่อนการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ดังนี้
             I.เช็คว่าพร้อมหรือยัง?ด้วยกลยุทธ์6C
             II.มีเอกลักษณ์หรือจุดเด่นของเว็บไซต์เช่นแนวความคิดพื้นฐานของตัวเว็บไซต์ที่โดดเด่นมีความสอดคล้องกับตราสินค้าหรือบริการหลักของธุรกิจการออกแบบเว็บไซต์เช่นสีสันโลโก้การวางรูปแบบและเนื้อหามีความเป็นเอกลักษณ์
             III.การสร้างช่องทางการเก็บข้อมูลผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เช่นการลงทะเบียนสมาชิกแบบสอบถามออนไลน์บริการการรับข่าวสารทางอีเมล์เป็นต้น

ขั้น 7 วัดผลและประเมินผลลัพธ์
             เป็นวิธีการวัดผลความสาเร็จจากการทาแผนการตลาดว่ามีผลลัพธ์เช่นไรการดาเนินการทางการตลาดประสบความสาเร็จตามที่กาหนดมากน้อยเพียงใดโดยประเมินจากการเติบโตของยอดขายส่วนแบ่งทางการตลาดภาพลักษณ์ที่ลูกค้ามีต่อสินค้าหรือบริการกาไรฯลฯเพื่อเป็นข้อมูลสาคัญในการตัดสินใจการดาเนินตามแผนธุรกิจต่อไป
             ตัวอย่างเครื่องมือวัดผลเช่นการวัดสถิติการเข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์สถิติการจัดอันดับบนเครื่องมือค้นหา(SearchEngine)เป็นต้น


6 Cs กับความสาเร็จของการทาเว็บ
             1.C ontent(ข้อมูล)
             2.C ommunity(ชุมชน,สังคม)
             3.C ommerce(การค้าขาย)
             4.C ustomization(การปรับให้เหมาะสม)
             5.C ommunication, Channel (การสื่อสารและช่องทาง)
             6.C onvenience(ความสะดวกสบาย)

C ontent(ข้อมูล)
            -ข้อมูลใหม่สดเสมอ
            -ข้อมูลมีความถูกต้อง
            -อ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล
การจัดการและบริหารข้อมูล (Content Management )
           1.เว็บไซต์ที่มีข้อมูลไม่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย (Static Content)
           2.เว็บไซต์ที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลอยู่เสมอ (Dynamic Content)
-รูปแบบของการหาข้อมูลมาไว้ในเว็บไซต์มี 3 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่
         *ทางผู้จัดทาเว็บไซต์เป็นคนผลิตข้อมูลขึ้นมา (Self Feeding)
         *ข้อมูลมากจากผู้เข้ามาใช้บริการ (User Feeding)
         *ข้อมูลมากจากพันธมิตร (Partner Content)

C ommunity(ชุมชน,สังคม)
            Community คือ การรวมตัวของกลุ่มคนจานวนหนึ่ง ที่อยู่ร่วมกันภายใต้สถานๆ หนึ่ง โดยมการพูดคุย หรือกิจกรรมร่วมกันภายในสถานที่แห่งนั้น

องค์ประกอบในการสร้าง Community ในเว็บไซต์ของคุณ
             1.เว็บบอร์ด (WebBoard)
             2. พิ๊กโพสต์(Pic Post)
             3. ไดอารี่ หรือ บล็อก (Diary or Blog)
             4. ข่าว (News) + Web Board
             5. รวมลิงค์ เว็บไซต์
            6. ห้องแช๊ตรูม(ChatRoom)

C ommerce(การค้าขาย)
            Commerce หรือ การทาการค้าขายผ่านเว็บไซต์ ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเว็บไซต์ได้ เช่นเว็บข้อมูล (Content), เว็บโปรแกรมมิ่ง, เว็บ Community, หรือเว็บโป๊ก็สามารถทา E-Commerce
การหาสินค้ามาขายผ่านหน้าเว็บ
          การซื้อสินค้ามาเก็บไว้
          การนาสินค้าจากแคตตาล๊อกมาขาย (จับเสือมือเปล่า)
          การนาสินค้าจากพันธมิตรมาขายwww.thaisecondhand.com/promotion

C ustomization(การปรับให้เหมาะสม)
           C -Customizationคือ รูปแบบการให้บริการที่สามารถปรับแต่งการใช้งานให้มีความเหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการภาย ในเว็บไซต์
           •การปรับแต่งข้อมูลเพื่อการบริการ (Service)http://my.MSN.com
           •การปรับแต่งสินค้าเพื่อการค้า (Commerce)www.Nike.com
           •การเก็บข้อมูลของลูกค้าเพื่อการนาเสนอข้อมูล (Information) www.Amazon.com


C ommunication, Channel (การสื่อสารและช่องทาง)
            Communication คือ ช่องทางในการสื่อสารและติดต่อกับผู้ใช้บริการในเว็บไซต์ของคุณ จริงๆ แล้วสิ่งที่คุณมีอยู่ในเว็บไซต์คุณคือ ข้อมูล (Content) หรือ บริการ (Service) ซึ่งเป็นเพียงแค่ “ช่องทาง” ในการ “เข้าถึง” ข้อมูลหรือบริการเหล่านั้น

C onvenience(สะดวกสบาย)
การใช้งานง่าย (Usability)
1."ดู" ง่าย
         •การวางรูปแบบ (Layout)
         •รูปภาพ และไอค่อน ( Image & Icon)
         •ขนาดตัวอักษร (Font) และการจัดหน้า
         •การออกแบบระบบนาทางที่ดี (Navigation)
         •มีSite map ในเว็บ
2."เรียนรู้" ได้ง่าย (easy to learn)
3. "จดจา" วิธีการใช้งานได้ง่าย
4."เข้าถึง" ได้ง่าย
5.ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ (efficient to use)
6.การเจอปัญหาและการแก้ไข (Help & FAQ)


บทที่ 6. e-CRM : Electronic Customer Relationship Management

e-CRM : Electronic Customer Relationship Management

CRM หมายถึง เป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวกับลูกค้า
เรียนรู้ความต้องการที่แตกต่างกันของลูกค้า และตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า

ด้วยสินค้าหรือบริการที่เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละคนมากที่สุด

เป้าหมายของ CRM
           เป้าหมายของ CRM นั้นไม่ได้ เน้นเพียงแค่การบริการลูกค้าเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการเก็บข้อมูลพฤติกรรม ในการใช้จ่ายและความต้องการของลูกค้า จากนั้นจะนำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ และใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือการบริการรวมไปถึงนโยบายในด้านการจัดการ ซึ่งเป้าหมายสุดท้าย ของการพัฒนา CRM ก็คือการเปลี่ยนจากผู้ บริโภคไปสู่การเป็นลูกค้าตลอดไป

กระบวนการทำงานของระบบCRM
           Identify เก็บข้อมูลว่าลูกค้าของบริษัทเป็นใคร เช่น ชื่อลูกค้า ข้อมูลสำหรับติดต่อกับลูกค้า
           Differentiate วิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้าแต่ละคน และจัดแบ่งลูกค้าออกเป็นกลุ่มตามคุณ
ค่าที่ลูกค้ามีต่อบริษัท
          Interact มีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อเรียนรู้ความต้องการของลูกค้า และเพื่อสร้างความพึงพอ
ใจให้กับลูกค้าในระยะยาว
          Customize นำเสนอสินค้าหรือบริการที่มีความเหมาะสมเฉพาะตัวกับลูกค้าแต่ละคน

ขั้นตอนการทำงานของ CRM
1. การวิเคราะห์ลูกค้า
          ผู้ประกอบการธุรกิจจะต้องสามารถใช้ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าที่มีอยู่ในฐานข้อมูลได้อย่างมีคุณค่า
และมีประสิทธิภาพ และการเก็บข้อมูลของลูกค้าและการนำไปใช้ จึงควรมีการจัดการอย่างเป็น
ระบบ ดังนี้
         ❖ ศึกษาข้อมูลประวัติลูกค้า
         ❖ การจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าให้ถูกต้องครบถ้วนและมีความละเอียดพอสมควรเก็บไว้ในฐานข้อมูล
โดยการใช้เทคโนโลยีมาช่วยเก็บ
         ❖ จัดแบ่งกลุ่มลูกค้า อาจแบ่งตามพฤติกรรมการซื้อหรือการบริโภคผลิตภัณฑ์
         ❖ จัดเรียงลำดับลูกค้าตามความสำคัญที่มีต่อบริษัท
2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด
สภาพแวดล้อมทางการตลาดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบภายใน และ ระบบภายนอก ซึ่งทั้งสองระบบต่างมีความสำคัญต่อองค์กร หากมีจุดบกพร่องหรือเกิดข้อจำกัดขึ้นที่ใด อาจจะทำให้ธุรกิจประสบกับความล้มเหลวได้
3. การแบ่งส่วนตลาด ซึ่งสามารถแบ่งลูกค้าออกเป็น 3 ประเภท คือ ลูกค้าที่เป็นธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจค้าปลีก และผู้บริโภค
4. การกำหนดตลาดเป้าหมาย
สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภท Traders คือ กลุ่มคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย และประเภท Consumers คือ กลุ่มผู้บริโภค ทั้งนี้ บริษัทไม่ควรดึงลูกค้าทุกคนเข้ามาเป็นกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
5. การจัดทำแผนการตลาด
           บริษัทควรจะจัดลำดับความสำคัญของแต่ละกลุ่มเป้าหมายว่าควรให้ความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใดเป็นอันดับแรกและรองลงไป และแต่ละกลุ่มนั้นผู้ใดมีบทบาทและมีอำนาจในการตัดสินใจซื้อ เครื่องมือหรือกิจกรรมการสื่อสารการตลาดที่นำมาใช้กับE-CRM นั้นจะต้องมีความหลากหลาย ดังนี้
           การตลาดโดยตรง Direct Marketingได้แก่ โ ทรศัพท์ ( Telemarketing ) เช่น Call Center ใ บรับประกันสินค้า ( Warranty Card ) 
           การตลาดอิเล็กทรอนิกส์( E-Marketing ) เช่น การสร้างเวปไซต์ที่ให้สาระน่ารู้เกี่ยวกับสินค้า และมีสื่อตอบกลับให้ลูกค้าสื่อสารกลับมาการประชาสัมพันธ์ ( Public Relations )
ได้แก่ เอกสารข่าวแจกในรูปของใบปลิว แผ่นพับ วารสาร การจัดกิจกรรมพิเศษ ( Event Marketing ) เช่นการเชิญลูกค้าเป้าหมายที่ถูกต้องมาร่วมงานที่บริษัทจัดขึ้น
          การโฆษณา ( Advertising )
เช่น การเขียนข้อความแบบเป็นกันเอง และพิมพ์ส่วนท้ายของโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นคูปองเพื่อให้ลูกค้ากรอกรายละเอียดตอบกลับมายังบริษัท ทั้งนี้เพื่อขอรับข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเพิ่มเติม
          การส่งเสริมการขาย ( Sales Promotion )
เป็นการสร้างและเพิ่มยอดซื้อของลูกค้าอย่างต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่ง ไ ด้แก่ แคมเปญสะสมแต้มคะแนนจากยอดซื้อเพื่อแลกรับของรางวัลหรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ การนำสินค้าเก่ามาแลกซื้อสินค้าใหม่ ซึ่งการส่งเสริมการขายนี้เหมาะสำหรับ E-CRM ที่มุ่งสร้างสัมพันธ์กับลูกค้าใหม่



ประโยชน์ ของ CRM
           มี รายละเอียดข้อมูลของลูกค้าในด้านต่างๆ ได้ แก่ Customer Profile
           Customer Behavior
           วางแผนทางด้านการตลาดและการขายอย่างเหมาะสม
           ใช้กลยุทธ์ ในการตลาด และการขายได้ อย่างรวดเร็วอย่างมี ประสิทธิ ภาพตรงความต้องการของลูกค้า
           เพิ่มและรักษาส่วนแบ่งตลาดของธุรกิจ
           ลดการทำงานที่ซับซ้อน ลดค่าใช้ จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงาน เพิ่มโอกาสในการ
แข่งขัน ก่อให้ เกิดภาพพจน์ ที่ดี ต่อองค์ การ


E-CRM หมายถึง กระบวนการจัดการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าทาง internet มีการผสมผสานการใช้งานเทคโนโลยี บุคลากร และกระบวนการขายสินค้าหรือบริการเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้มาซึ่งลูกค้า รักษาลูกค้าไว้และสร้างกำไรสูงสุดจากลูกค้า


คุณสมบัติที่ดีของ e-CRM
           ความสามารถในการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว และสามารถในการประเมินความ
ต้องการของลูกค้าล่วงหน้าได้ เพื่อให้การปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงความต้องการของลูกค้าได้สูงสุด
            การอำนวยความสะดวกให้ลูกค้าในการรับข้อมูลที่ตัวเองสนใจ และทันต่อเหตุการณ์ เช่น
ระบบ CRM สามารถแจ้งให้เจ้าของรถยนต์ทราบล่วงหน้าว่า รถของพวกเขาถึงเวลาอันสมควรที่จะได้รับการตรวจเช็คจากศูนย์บริการ โดยระบบจะทราบถึงรายละเอียดของข้อมูลลูกค้าเพื่อใช้ในการติดต่อ รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับตัวรถ จดหมายแจ้งลูกค้า จะถูกส่งไปทาง e-mailตามที่อยู่ที่เก็บบันทึกไว้ในช่วงเวลาที่กำหนด โ ดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการเข้ารับบริการตรวจเช็ครถคันดังกล่าว รวมถึงการเพิ่มความสะดวกให้แก่ลูกค้าด้วยการแนะนำศูนย์บริการที่ใกล้ที่สุดให้พนักงานในองค์กรนั้นๆทาง web site

คุณสมบัติที่ดีของ e-CRM
           ในปัจจุบันเทคโนโลยีที่ทันสมัย และการพัฒนาของซอฟต์แวร์ได้ช่วยอำนวยความสะดวกให้
องค์กร สามารถเก็บรวบรวมขู้มูลลูกค้าได้อย่างมีระบบ และนำมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพข้อได้เปรียบที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ ระบบการทำงานที่มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุน ซึ่งมีความเที่ยงตรงกว่าการบริหารโดยคน และยังสามารถแสดงให้เห็นถึงทิศทางและแนวโน้มในเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน เช่น อัตราการเติบโตของลูกค้า ความจำเป็นที่จะต้องหาพนักงานใหม่และการฝึกฝนทีมงาน

องค์ประกอบของE-CRM
         ❖ระบบการจัดการ
         ❖คน
         ❖เทคโนโลยี

หน้าที่หลักของ e-CRM
- การหาลูกค้าใหม่ (Prospecting) ปัจจัยที่ต้องพิจารณา คือ
         ❖ การจัดกลุ่มลูกค้า
         ❖ การเลือกกลุ่มลูกค้าที่จะเป็นเป้าหมาย
         ❖ วิธีการได้ลูกค้า การจัดกลุ่มและการเลือกจะพิจารณาจาก “ความต้องการของลูกค้า” และ “กำไรของบริษัท” ส่วนวิธีการได้ลูกค้า ได้แก่
         ❖ การโฆษณาตามสื่อต่างๆ
         ❖ การประชาสัมพันธ์
         ❖ Web Site
         ❖ พนักงานขาย
         ❖ งานแสดงสินค้า
         ❖ ลูกค้าติดต่อ สอบถามที่บริษัท
         ❖ การจัดกิจกรรมทางการตลาด
- การรักษาลูกค้าเก่าไว้ หรือ การเรียกลูกค้าเก่ากลับมา (Save or Win Back)
          ▪ตรวจสอบ
                 ✓ ลูกค้าที่มีแนวโน้มการซื้อลดลง
                 ✓ ลูกค้าที่ขาดการติดต่อ
          ▪กลยุทธ์
                ✓ วิเคราะห์และเสนอสินค้า และหรือโปรแกรมที่จูงใจ
                ✓ เสนอกิจกรรมเพื่อให้ลูกค้าเข้าร่วม
- การสร้างความจงรักภักดี การวัดความจงรักภักดีพิจารณาจาก (ต่อ)
            1)มูลค่าที่ได้รับจากลูกค้า (Value-based segmentation)
                       - ดูยอดซื้อของลูกค้าแต่ละราย
                       - ดูกำไรที่ได้รับ
                       - จัดกลุ่มตามยอดซื้อหรือกำไร
             2)ความต้องการของลูกค้า (Need-based segmentation)ดูความต้องการของแต่ละคนจัดกลุ่มตาม
             3)การสร้างความจงรักภักดีทำได้โดย
                        - จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
                        - เสนอสิทธิพิเศษ
                        - เสนอสินค้าหรือบริการใหม่ๆ
                        - ทำ Loyalty Program
- การขายเพิ่มขึ้นโดยใช้ (Cross-sell/Up-sell)
            ❖ ขายสินค้าชนิดอื่น (Cross-sell) เช่น
ตัวอย่าง: การขายประกันรถยนต์ ประกันบ้านกับลูกค้าที่ซื้อประกันชีวิต
(Offer : Complementary Product)
            ❖ ขายสินค้าเกรดดีขึ้น หรือ ขายปริมาณมากขึ้น เช่น (Up-sell)

ปัจจัยที่มีผลต่อ e-CRM
             1. ปรับแนวคิดการติดต่อกับลูกค้า
             2. เน้นการติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับลูกค้า
             3. ดำรงไว้ซึ่งเป้าหมายการสร้างประโยชน์ให้แก่ลูกค้า
             4. เรียนรู้และเข้าถึงเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการพัฒนาความสัมพันธ์
             5. ต้องมีข้อมูลของลูกค้าอย่างถูกต้อง ทันสมัยเพื่อให้ทันกับพฤติกรรมของลูกค้า
             6. ติดตามกลยุทธ์การตลาดของคู่แข่งขันอย่างทันเหตุการณ์
             7. ต้องมีความยืดหยุ่นในกลยุทธ์ ถ้าข้อมูลเปลี่ยนต้องปรับกลยุทธ์ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงได้อย่างทันที
             8. ทำ ERM : Employee Relationship Management คือ สร้างความสัมพันธ์และความรู้สึกของการทำงานเป็นทีม
             9. ทำ ERM : Experiment Relationship Management คือ การจัดการกับประสบการณ์ของลูกค้า
            10.ทุกฝ่ายในบริษัทต้องมี Marketing Mind

ส่วนประกอบของ e-CRM
❑ ระบบการขายอัตโนมัติ ประกอบด้วย
          ❖ ระบบ ขายโดยผ่านโทรศัพท์ ตอบรับ เพื่อให้ บริการแบบ Proactive ในลักษณะ Telesale
          ❖ ระบบพาณิชย์ อิเลกทรอนิกส์ (E-Commerce) เพื่อทำการขายแบบ Up-Saleing หรื อ Cross-Saleing
          ❖ ระบบงานสนามด้านการขาย ไ ด้ แก่ Wireless Application สำหรับการขายปลีกและตัวแทนจำหน่ายสามารถเรียกดูข้อมูลลูกค้าได้ทันที ขณะติดต่อจะเพิ่มโอกาสในการขายให้ สูงขึ้น
❑ ระบบบริการลูกค้า (Call Center) ประกอบด้วย ระบบการให้ บริการในด้านโทรศัพท์ ตอบรับ
(Interactive Voice Response: IVR) ด้านเว็บไซต์ ด้านสนามและข่าวสารต่าง ๆ
❑ ระบบการตลาดอัตโนมัติ ประกอบด้วย ระบบย่อยด้านการจัดการด้านรณรงค์ ต่างๆ ด้านการแข่งขัน ด้านเครื่องมือที่จะช่วยการวิเคราะห์ ข้อมูล และวิเคราะห์ธุรกิจ
❑ Data Warehouse และเครื่องมื อจัดการข้อมูล เป็นระบบสำคัญในการจัดการข้อมูลที่ละเอียดของ CRM ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลจากภายในและภายนอกองค์กร ข้อมูลภายในมี ที่มาจาก 2 แหล่ง คือ
           ✓มาจากระบบงานคอมพิวเตอร์ เป็นงาน Routine ที่มาจากระบบ Billing ลูกหนี้
ทะเบียนลูกค้า Call Center และข้อมูลเก่าดังเดิมที่ไม่ได้ อยู่ในรูปแบบฐานข้อมูล
           ✓ข้อมูลภายนอกได้ แก่ Web Telephone Directory เป็นต้น

ขั้นตอนการทำ e-CRM
           ❑พัฒนาฐานข้อมูล
           ❑เลือกเทคโนโลยี
           ❑เลือกโปรแกรมการตลาด
           ❑ติดต่อสื่อสาร
           ❑ประเมินผล
           ❑ปรับปรุงฐานข้อมูล